Conductivity ในน้ำ
คุณภาพของน้ำที่ใช้ดื่มหรือแม้กระทั้งน้ำทิ้งทางอุตสาหกรรมต้องเป็นไปตามข้อจำกัดทางกฎหมายเกี่ยวกับสารปนเปื้อนต่างๆ มากกว่า 90 ชนิดที่สามารถพบได้ในน้ำ ข้อจำกัดเหล่านี้มีความจำเป็นเพื่อให้แน่ใจว่าน้ำดื่มปราศจากสารปนเปื้อนที่อาจก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพหรือการพัฒนาของโรคที่เกิดจากน้ำ
พารามิเตอร์สำหรับวัดคุณภาพน้ำ
เมื่อพูดถึงโรงงานอุตสาหกรรม มีหลายครั้งที่ต้องบำบัดน้ำเพื่อให้แน่ใจว่าคุณภาพอยู่ในระดับที่ยอมรับได้สำหรับกระบวนการที่จำเป็นที่หลากหลาย มีพารามิเตอร์คุณภาพน้ำสามตัวที่ช่วยวัดคุณภาพน้ำได้แก่
- พารามิเตอร์ทางกายภาพ (Physical parameters) ได้แก่ สี รส กลิ่น อุณหภูมิ ความขุ่น ของแข็งละลายในน้ำและการนำไฟฟ้า
- พารามิเตอร์ทางเคมี (Chemical parameters) ได้แก่ค่าพีเอช pH ความเป็นกรด-ด่าง คลอรีน ความกระด้าง ออกซิเจนละลายน้ำ และความต้องการออกซิเจนทางชีวภาพ
- พารามิเตอร์ทางชีวภาพ (Biological parameters) ซึ่งรวมถึงแบคทีเรีย สาหร่าย และไวรัส
กลุ่มเครื่องมือวัดที่เกี่ยวข้อง
เข้าใจกับ TDS EC Meters: คืออะไรและทำงานอย่างไร
อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดค่าแบบ 2 IN 1 ได้แก่ค่าของแข็งที่ละลายในน้ำทั้งหมด (Total Dissolved Solids หรือเรียกย่อว่า TDS)[...]
รู้จักค่า TDS และ EC รวมถึงประโยชน์และวิธีการตรวจวัด
เรามักเห็นความสับสนเกิดขึ้นเมื่อดูความแตกต่างระหว่างค่าการนำไฟฟ้า EC และ TDS อะไรคือความแตกต่างลองสำรวจพารามิเตอร์ทั้งสองในรายละเอียดเพิ่มเติมจากบทความนี้กัน[...]
Conductivity meter
Conductivity meter ช่วยให้เราสามารถวัดระดับการนำไฟฟ้าในสารละลายได้ Conductivity หรือค่าการนำไฟฟ้าคือความสามารถของวัสดุ (สารละลาย โลหะ หรือก๊าซ) ในการส่งผ่านกระแสไฟฟ้า [...]
EC meter คือ
EC meter คือเครื่องมือสำหรับวัดค่าการนำไฟฟ้าในน้ำ ของเหลว สารละลายและของกึ่งแข็งเช่นดิน เพื่อตรวจวัดความสามารถในการนำไฟฟ้าได้ดีเพียงใด โดยธรรมชาติน้ำบริสุทธิ์ น้ำกลั่น H2O ไม่นำไฟฟ้า[...]
EC ย่อมาจาก
EC ย่อมาจาก Electrical Conductivity ความหมายคือความสามารถในการนำกระแสไฟฟ้าของสารละลาย ของเหลวหรือน้ำ น้ำบริสุทธิ์ H2O ไม่นำไฟฟ้า (เป็นฉนวน)[...]
น้ำยาคาริเบท EC
สำหรับการสอบเทียบเครื่องวัด EC เพื่อความแม่นยำในการวัดสำหรับห้องปฎิบัติการ งานด้านไฮโดรโปนิกส์ มีสินค้าหลายรุ่นให้เลือกได้ค่า 84µS/cm, 1413µS/cm ค่า 12880 µS/cm[...]
รู้จักค่าคอนดักติวิตี้
ค่าการนำไฟฟ้า (คอนดักติวิตี้) เป็นตัววัดว่าน้ำนำไฟฟ้าได้ดีเพียงใด น้ำบริสุทธิ์เป็นตัวนำไฟฟ้าที่ไม่ดี แต่เมื่อเกลือหรือแร่ธาตุต่างๆ ละลายมากขึ้น ค่าการนำไฟฟ้าก็จะเพิ่มขึ้น การวัดค่าการนำไฟฟ้าของน้ำทำให้เราประเมินปริมาณเกลือหรือของแข็งที่ละลายในน้ำได้[...]
รู้จักค่า conductivity ของน้ำ
ค่าการนำไฟฟ้า Conductivity ของน้ำหมายถึงความสามารถของน้ำในการนำกระแสไฟฟ้า วัสดุเช่นทองแดงมีค่าการนำไฟฟ้าสูง ซึ่งเป็นสาเหตุที่นิยมใช้เป็นสายไฟในบ้าน ทองแดงที่มีค่าการนำไฟฟ้าสูงทำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านสายไฟและผ่านไปยังหลอดไฟหรือพัดลมเพดานได้ง่าย[...]
Conductivity หน่วยคืออะไร
หน่วย SI ของการนำไฟฟ้าคือซีเมนส์ต่อเมตร (S/m) นอกจากนี้ เราเคยเรียกว่า mho นั่นคือส่วนกลับของโอห์ม และสิ่งนี้เกิดขึ้นโดยบังเอิญโดยการสะกดโอห์มย้อนกลับ (เป็นหน่วยเก่าปัจจุบันไม่มีการใช้แล้ว)[...]
เครื่องวัด EC pH
เป็นเครื่องวัดแบบ 2 IN 1 สามารถวัดค่าคอนดักติวิตี้ EC และค่าความเป็นกรด-ด่างได้ในเครื่องเดียวกัน มีสินค้าหลายรุ่นให้เลือก ทั้งแบบปากกา แบบพกพาและชนิดตั้งโต๊ะ[...]
ค่าคอนดักคืออะไร
การนำไฟฟ้ามีประโยชน์ในการวัดคุณภาพน้ำ โดยทั่วไปแหล่งน้ำธรรมชาติแต่ละแห่ง มีแนวโน้มที่จะมีช่วงการนำไฟฟ้าที่ค่อนข้างคงที่ ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการเปรียบเทียบกับการวัดค่าการนำไฟฟ้าปกติ [...]
ค่า EC คืออะไรและมีประโยชน์อย่างไร
EC คือการวัดค่าการนำไฟฟ้าในน้ำ โดยมีชื่อเต็มคือ Electrical Conductivity หรือหลายคนเรียกย่อๆ ว่าค่าคอนดัก สำหรับในงานด้านการปลูกพืชไร้ดินหรือไฮโดรโปนิกส์การวัด EC ช่วยให้คุณทราบถึงปริมาณของสารอาหารที่มีอยู่[...]
เข้าใจ Conductivity คืออะไรและประโยชน์
ค่า Conductivity หรือค่าการนำไฟฟ้าของน้ำหรือเรียกย่อๆ ว่าค่า EC เป็นตัววัดความสามารถของน้ำในการส่งกระแสไฟฟ้า ความสามารถนี้ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของไอออนที่อยู่ในน้ำโดยตรง ไอออนที่ทำให้น้ำสามารถนำไฟฟ้าเหล่านี้เกิดขึ้นจากวัสดุอนินทรีย์เช่น คลอไรด์ สารประกอบอัลคาไล[...]
ตารางแสดงค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญในการวัดคุณภาพน้ำ
พารามิเตอร์ | กรมอนามัย | อย | สมอ |
---|---|---|---|
คุณภาพน้ำทางกายภาพ/ฟิสิกส์ | |||
- ความเป็นกรดและด่าง (pH) | 6.5-8.5 pH | 6.5-8.5 pH | 6.5-8.5 pH |
- ความขุ่น (Turbidity) | ไม่เกิน 5 NTU | ไม่เกิน 5 ซิลิกาสเกล | ไม่เกิน 5 NTU |
- สีของน้ำ (Color) | ไม่เกิน 15 แพลทินัม-โคบอลต์ | ไม่เกิน 20 ฮาเซนยูนิต | ไม่เกิน 5 แพลทินัม-โคบอลต์ |
- กลิ่น | ไม่กำหนด | ต้องไม่มีกลิ่น แต่ไม่รวมกลิ่นคลอรีน | ไม่กำหนด |
คุณภาพน้ำทางเคมีทั่วไป | |||
- สารละลายทั้งหมดที่เหลือจากการระเหย (TDS) | ไม่เกิน 1,000 มก./ล | ไม่เกิน 500 มก./ล | ไม่เกิน 500 มก./ล |
- ความกระด้าง (Hardness) | ไม่เกิน 500 มก./ล | ไม่เกิน 100 มก./ล | ไม่เกิน 100 มก./ล |
- ซัลเฟต | ไม่เกิน 250 มก./ล | ไม่เกิน 250 มก./ล | ไม่เกิน 200 มก./ล |
- คลอไรด์ | ไม่เกิน 250 มก./ล | ไม่เกิน 250 มก./ล | ไม่เกิน 250 มก./ล |
- ไนเตรท | ไม่เกิน 50 มก./ล | ไม่เกิน 4 มก./ล | ไม่เกิน 4 มก./ล |
- ฟลูออไรด์ | ไม่เกิน 0.7 มก./ล | ไม่เกิน 0.7 มก./ล | ไม่เกิน 0.7 มก./ล |
- ลิเนียอัลคิลเบนซีนซัลโฟเนต | ไม่กำหนด | ไม่เกิน 0.2 มก./ล | ไม่เกิน 0.2 มก./ล |
- ฟีนอลิกซับสแตนซ์ | ไม่กำหนด | ไม่เกิน 0.001 มก./ล | ไม่เกิน 0.001 มก./ล |
คุณภาพน้ำทางโลหะหนักทั่วไป | |||
- เหล็ก (Fe) | ไม่เกิน 0.5 มก./ล | ไม่เกิน 0.3 มก./ล | ไม่เกิน 0.3 มก./ล |
- แมงกานีส (Mn) | ไม่เกิน 0.3 มก./ล | ไม่เกิน 0.05 มก./ล | ไม่เกิน 0.05 มก./ล |
- ทองแดง (Cu) | ไม่เกิน 1.0 มก./ล | ไม่เกิน 1.0 มก./ล | ไม่เกิน 1.0 มก./ล |
- สังกะสี (Zn) | ไม่เกิน 3.0 มก./ล | ไม่เกิน 5.0 มก./ล | ไม่เกิน 3.0 มก./ล |
- อะลูมิเนียม (Al) | ไม่กำหนด | ไม่เกิน 0.2 มก./ล | ไม่กำหนด |
คุณภาพน้ำทางโลหะหนักที่เป็นพิษ | |||
- ตะกั่ว (Pb) | ไม่เกิน 0.01 มก./ล | ไม่เกิน 0.05 มก./ล | ไม่เกิน 0.01 มก./ล |
- โครเมียม (Cr) | ไม่เกิน 0.05 มก./ล | ไม่เกิน 0.05 มก./ล | ไม่เกิน 0.05 มก./ล |
- แคดเมียม (Cd) | ไม่เกิน 0.003 มก./ล | ไม่เกิน 0.005 มก./ล | ไม่เกิน 0.003 มก./ล |
- สารหนู (As) | ไม่เกิน 0.01 มก./ล | ไม่เกิน 0.05 มก./ล | ไม่เกิน 0.01 มก./ล |
- ปรอท (Hg) | ไม่เกิน 0.001 มก./ล | ไม่เกิน 0.002 มก./ล | ไม่เกิน 0.001 มก./ล |
- ซีลิเนียม (Se) | ไม่กำหนด | ไม่เกิน 0.01 มก./ล | ไม่เกิน 0.01 มก./ล |
- ไซยาไนด์ (CN-) | ไม่กำหนด | ไม่เกิน 0.1 มก./ล | ไม่เกิน 0.07 มก./ล |
- แบเรียม (Ba) | ไม่กำหนด | ไม่เกิน 1.0 มก./ล | ไม่เกิน 0.7 มก./ล |
- เงิน (Ag) | ไม่กำหนด | ไม่เกิน 0.05 มก./ล | ไม่กำหนด |
ที่มาของข้อมูล
http://reg3.diw.go.th/diw_info/wp-content/uploads/m.94-9.pdf